กำหนดส่วนติดต่อและบันทึกข้อมูลโมดูล จากนั้นจะทำการส่ง XML ที่ถูกสร้างขึ้นไปสู่โมดูลที่ร้องขอนั้นๆ
1. มุมมอง (View)a.png
มุมมอง (Views) เป็นวิธีการที่จะแสดงวัตถุในฝั่งไคลเอ็นต์ โดยจะแสดงข้อมูลแก่ไคลเอ็นต์ด้วยวิธีการจัดวางข้อมูลแบบวัตถุให้แสดงบนหน้าจอ
มุมมองมีสองประเภท คือ
•มุมมองแบบฟอร์ม
•มุมมองแบบต้นไม้
รายการลิสเป็นกรณีเฉพาะของแต่ละมุมมองต้นไม้ ในวัตถุเดียวกันอาจมีได้หลายมุมมอง เช่น มุมมองที่กำหนดไว้ครั้งแรกของแต่ละประเภท (มุมมองแบบต้นไม้, มุมมองแบบฟอร์ม, ... ) จะใช้เป็นมุมมองเริ่มต้นสำหรับชนิดนั้นๆ ด้วยวิธีนี้สามารถมีมุมมองแบบต้นไม้เริ่มต้น (ที่จะทำหน้าที่เป็นมุมมองของ one2many) และมุมมองเฉพาะที่มีข้อมูลมากหรือน้อยที่จะปรากฏเมื่อคลิกสองครั้งที่รายการลิสเมนู ตัวอย่างเช่น ผลิตภัณฑ์ที่มีมุมมองหลายตัวแปรผันตามผลิตภัณฑ์นั้น มุมมอง (Views) จะถูกกำหนดไว้ใน XML ถ้าไม่ได้กำหนดมุมมองเอาไว้สำหรับวัตถุ วัตถุข้อมูลนั้นจะสร้างมุมมองเริ่มต้นขึ้นมารองรับด้วยตนเอง ซึ่งอาจเป็นการจำกัดการทำงานของผู้พัฒนา แต่ก็เป็นการลดภาระทางการออกแบบมุมมองลงด้วย
ตัวอย่าง การใช้งานเมื่อคุณเปิดใบแจ้งหนี้และขั้นตอนของการดำเนินงานโดยไคลเอ็นต์มี ดังนี้
•การดำเนินการขอให้เปิดใบแจ้งหนี้ (ให้ข้อมูลของวัตถุ (เช่น account.invoice) มุมมอง และหัวข้อ (เช่น ใบแจ้งหนี้ที่ค้างชำระเท่านั้น))
•ไคลเอ็นต์จะร้องขอ (ด้วย XML - RPC) ไปยังเซิร์ฟเวอร์ที่มีการกำหนดมุมมองเอาไว้สำหรับวัตถุของใบแจ้งหนี้และข้อมูลที่ต้องการแสดง
•ไคลเอ็นต์จะแสดงแบบฟอร์มตามดู
2.รายงาน (Report)
b.png
OpenERP ใช้ระบบการรายงานที่มีความยืดหยุ่นและมีประสิทธิภาพ รายงานจะถูกสร้างทั้งในรูปแบบไฟล์ PDF หรือใน HTML รายงานได้รับการออกแบบบนหลักการของการแยกระหว่างชั้นข้อมูลและชั้นนำเสนอ
มีรายงานสามประเภทหลักๆ ใน OpenERP คือ
• รายงานรูปแบบ OpenOffice.org
• รายงานรูปแบบ RML
• รายงานรูปแบบที่กำหนดขึ้นเอง (ขึ้นอยู่กับมุมมองของ PostgreSQL และการแสดงผลรวมอยู่กับอินเตอร์เฟส)
3.WizardsWizards อธิบายถึงช่วงการโต้ตอบกับผู้ใช้ผ่านฟอร์มแบบไดนามิก ที่ OpenERP v5.0, Wizards ได้ใช้งาน osv_memory ในหน่วยความจำในตัวเพื่อให้สามารถสร้างตัว Wizards จากวัตถุทางธุรกิจและตัวรายงาน
c.png
ที่มา :
viewtopic.php?f=4&t=18
กำหนดส่วนติดต่อและบันทึกข้อมูลโมดูล จากนั้นจะทำการส่ง XML ที่ถูกสร้างขึ้นไปสู่โมดูลที่ร้องขอนั้นๆ
[b]1. มุมมอง (View)[/b]
[attachment=2]a.png[/attachment]
มุมมอง (Views) เป็นวิธีการที่จะแสดงวัตถุในฝั่งไคลเอ็นต์ โดยจะแสดงข้อมูลแก่ไคลเอ็นต์ด้วยวิธีการจัดวางข้อมูลแบบวัตถุให้แสดงบนหน้าจอ
มุมมองมีสองประเภท คือ
•มุมมองแบบฟอร์ม
•มุมมองแบบต้นไม้
รายการลิสเป็นกรณีเฉพาะของแต่ละมุมมองต้นไม้ ในวัตถุเดียวกันอาจมีได้หลายมุมมอง เช่น มุมมองที่กำหนดไว้ครั้งแรกของแต่ละประเภท (มุมมองแบบต้นไม้, มุมมองแบบฟอร์ม, ... ) จะใช้เป็นมุมมองเริ่มต้นสำหรับชนิดนั้นๆ ด้วยวิธีนี้สามารถมีมุมมองแบบต้นไม้เริ่มต้น (ที่จะทำหน้าที่เป็นมุมมองของ one2many) และมุมมองเฉพาะที่มีข้อมูลมากหรือน้อยที่จะปรากฏเมื่อคลิกสองครั้งที่รายการลิสเมนู ตัวอย่างเช่น ผลิตภัณฑ์ที่มีมุมมองหลายตัวแปรผันตามผลิตภัณฑ์นั้น มุมมอง (Views) จะถูกกำหนดไว้ใน XML ถ้าไม่ได้กำหนดมุมมองเอาไว้สำหรับวัตถุ วัตถุข้อมูลนั้นจะสร้างมุมมองเริ่มต้นขึ้นมารองรับด้วยตนเอง ซึ่งอาจเป็นการจำกัดการทำงานของผู้พัฒนา แต่ก็เป็นการลดภาระทางการออกแบบมุมมองลงด้วย
[b]ตัวอย่าง[/b] การใช้งานเมื่อคุณเปิดใบแจ้งหนี้และขั้นตอนของการดำเนินงานโดยไคลเอ็นต์มี ดังนี้
•การดำเนินการขอให้เปิดใบแจ้งหนี้ (ให้ข้อมูลของวัตถุ (เช่น account.invoice) มุมมอง และหัวข้อ (เช่น ใบแจ้งหนี้ที่ค้างชำระเท่านั้น))
•ไคลเอ็นต์จะร้องขอ (ด้วย XML - RPC) ไปยังเซิร์ฟเวอร์ที่มีการกำหนดมุมมองเอาไว้สำหรับวัตถุของใบแจ้งหนี้และข้อมูลที่ต้องการแสดง
•ไคลเอ็นต์จะแสดงแบบฟอร์มตามดู
2.รายงาน (Report)
[attachment=1]b.png[/attachment]
OpenERP ใช้ระบบการรายงานที่มีความยืดหยุ่นและมีประสิทธิภาพ รายงานจะถูกสร้างทั้งในรูปแบบไฟล์ PDF หรือใน HTML รายงานได้รับการออกแบบบนหลักการของการแยกระหว่างชั้นข้อมูลและชั้นนำเสนอ
มีรายงานสามประเภทหลักๆ ใน OpenERP คือ
• รายงานรูปแบบ OpenOffice.org
• รายงานรูปแบบ RML
• รายงานรูปแบบที่กำหนดขึ้นเอง (ขึ้นอยู่กับมุมมองของ PostgreSQL และการแสดงผลรวมอยู่กับอินเตอร์เฟส)
[b]3.Wizards[/b]
Wizards อธิบายถึงช่วงการโต้ตอบกับผู้ใช้ผ่านฟอร์มแบบไดนามิก ที่ OpenERP v5.0, Wizards ได้ใช้งาน osv_memory ในหน่วยความจำในตัวเพื่อให้สามารถสร้างตัว Wizards จากวัตถุทางธุรกิจและตัวรายงาน
[attachment=0]c.png[/attachment]
ที่มา : http://www.openerpthailand.org/viewtopic.php?f=4&t=18" onclick="window.open(this.href);return false;